Add to Book Shelf
Flag as Inappropriate
Email this Book

ภูมิปััญญา วัฒนธรรม และ สำานวนไทยจากไร่่นา : Wisdom, Traditions and Sayings of Thai Farmers : Wisdom, Traditions and Sayings of Thai Farmers

By Chantalakhana, Charan, Dr.

Click here to view

Book Id: WPLBN0003760734
Format Type: PDF eBook:
File Size: 18.91 MB
Reproduction Date: 7/21/2015

Title: ภูมิปััญญา วัฒนธรรม และ สำานวนไทยจากไร่่นา : Wisdom, Traditions and Sayings of Thai Farmers : Wisdom, Traditions and Sayings of Thai Farmers  
Author: Chantalakhana, Charan, Dr.
Volume:
Language: Thai
Subject: Non Fiction, Agriculture, Thai rural worldviews in Thai with a section in English
Collections: Authors Community, Folklore
Historic
Publication Date:
2015
Publisher: Animal Husbandry Association of Thailand
Member Page: Lindsay Falvey

Citation

APA MLA Chicago

Dr. Charan Chantalakhan, B. D., & Lindsay Skunmun & Falvey, P. &. (2015). ภูมิปััญญา วัฒนธรรม และ สำานวนไทยจากไร่่นา : Wisdom, Traditions and Sayings of Thai Farmers. Retrieved from http://gutenberg.cc/


Description
การเกษตรคือปากท้อ้องและชีวิตชาวไทย ประเทศไทยมีประชากรประมาณ 65-70 ล้านคน ไม่ตํ่ากว่าร้อยละ 50 เป็นเกษตรกร หรืออาจ กล่าวได้ว่ามีคนไทยอย่างน้อยจำนวน 30 ล้านคน มีอาชีพเป็นเกษตรกร คนเหล่านี้ส่วนใหญ่เป็นคนจน เป็นคนจนที่สุดในหมู่คนจน เป็นกลุ่มคนที่สมัยหนึ่งได้ชื่อว่าเป็นกระดูกสันหลังของชาติ เพราะมีอาชีพ ทำนาเลี้ยงประเทศและเลี้ยงโลก จนประเทศไทยได้มีชื่อเสียงว่าเป็นครัวโลก และนานาชาติรู้จักชื่อเสียง ของข้าวหอมมะลิ ทำให้พ่อค้าส่งข้าวเป็นสินค้าออกจนรํ่ารวย มีฐานะเป็นเศรษฐี แต่ตาสีตาสาคนทำนาก็ ยิ่งยากจนลงทุกวัน ประเทศไทยตั้งกระทรวงเกษตราธิการขึ้นมาบริหารจัดการ และพัฒนาการเกษตร ดูแลทุกข์สุข ของเกษตรกรด้วยความรักและห่วงใย หรือสมัยนี้น่าจะเรียกว่า เอื้ออาทร ชาวนาตาสีตาสาก็ได้รับความ เอื้ออาทรจากรัฐบาล จนในสมัยหนึ่งถึงกับมีคำขวัญว่า ทุกข์ของชาวนาคือทุกข์ของแผ่นดิน แต่ไม่นาน เขาก็ลืมคำขวัญนั้น เพราะทุกวันนี้พ่อค้าครองเมือง ทุกคนพูดถึงแต่เรื่องการแข่งขัน (ทางธุรกิจ) คนที่ไม่ ได้ค้าขายก็พูดเรื่องการแข่งขันไปกับเขาด้วย ราวกับว่าเราเก่งอยู่คนเดียวและถ้าไม่ได้แข่งขันแล้วจะ ตายอย่างนั้นแหละ คนไทยชอบกินอะไรเป็นแฟชั่น ว่าอะไรว่าตามกัน พูดพักเดียวแล้วก็ลืม แล้วไปหา คำขวัญใหม่มาเห่อกัน เมื่อก่อนนี้ก็อยากเป็นนิคส์เป็นแน็คส์กันจนนรกถามหา (วิกฤตเศรษฐกิจต้มยำกุ้ง)

Summary
ชาวบ้าน (คนชนบท) หรือชาวเมือง ทุกคนต้องกินอาหาร อาหารมาจากไหน ? ข้าว ปลา เนื้อ นม ไข่ ฯลฯ มาจากธรรมชาติทั้งสิ้น คนต้องปลูกข้าว (ทำนา) เพื่อให้มีข้าวไว้กิน คนเมืองเห็นแต่ข้าวสาร ในกระสอบ หรือเห็นแต่ข้าวแกง ไม่เคยเห็นนา คนต้องปลูกกล้วยเพื่อได้กล้วยไว้กิน คนทำข้าวเปลือก เมล็ดเดียวก็ไม่ได้ คนทำกล้วยลูกเดียวก็ไม่ได้ ทั้ง ๆที่คนอวดเก่งว่าได้รางวัลโนเบลกันทุก ๆปี คนมาอยู่ เมืองนาน ๆเข้า ทำให้ลืมรากเหง้า และเรื่องราวเกี่ยวกับชนบทและไร่นา

Excerpt
Introductory Comment The title of this volume speaks of wisdom, a term defined with difficulty and that links formal learning and knowledge to insight, sometimes of a spiritual nature. This is appropriate. Wisdom is seldom imparted, although paths to it are offered in various sacred and profane writings. In the Judeo-Christian culture in the English language, this is traditionally associated with the Wisdom Literature of the Talmud and the Bible, namely Proverbs, Ecclesiastes and the Song of Songs. Sometimes other books are included, such as those of Job, Psalms and Sirach. Other the fi rst three, my own poor attempts at English poetic versions of the latter two aim to respect the wisdom tradition in modern form. But the first of those three – Proverbs – proved too daunting a task. That is one reason I was very pleased when my old friends Charan and Pakapun moved to preserve some traditional sayings of the Thai culture, and asked if I could offer some similar English sayings. These few pages are the result, now edited a decade after their first publication.

 
 



Copyright © World Library Foundation. All rights reserved. eBooks from Project Gutenberg are sponsored by the World Library Foundation,
a 501c(4) Member's Support Non-Profit Organization, and is NOT affiliated with any governmental agency or department.